เกษตรยุคใหม่ ใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาผลผลิต
เกษตรยุคใหม่ ใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาผลผลิต
โรงเรียนพระพุทธบาทวิทยา จ.น่าน
ยอดเงินบริจาคปัจจุบัน
52,097.02 บาท
เป้าหมาย
50,000.00 บาท
100%
4k views
สิ้นสุด
เพิ่มในโครงการที่สนใจ
Share this

จากการเกษตรแบบดั่งเดิมต่อยอดทักษะและความรู้สู่เทคโนโลยีสมัยใหม่สร้างองค์ความรู้ขยายผลสู่ชุมชนให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืนเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ โรงเรียนพระพุทธบาทวิทยาเป็นโรงเรียนที่ได้เป็นตัวแทนของจังหวัดน่านในการประกวดโครงการยุวเกษตรระดับประเทศ ที่เน้นการทาเกษตรอินทรีย์ และต้องการต่อยอดเทคโนโลยี Iot มาผสมผสานกับการเกษตรแบบดั่งเดิมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนแก้ปัญหาผลผลิตตกต่ำ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในปัจจุบันทำให้เกิดภาวะขาดทุนและการใช้สารเคมีในการปลูกพืชทำให้เกิดสารพิษในลำนำ้น่าน ที่ส่งผลให้เกิดปัญหาประชาชนเป็นโรคมะเร็งสูงกว่าชุมชนอื่นในประเทศ จากสภาพปัจจุบัน โรงเรียนพระพุทธบาทวิทยาได้มีการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนด้วยกิจกรรมยุวเกษตรกรเน้นเรื่องอาหารปลอดภัยใช้ในโครงการอาหารกลางวันและการสร้างรายได้ระหว่างเรียนแต่ผลผลิตที่ได้รับไม่เพียงพอเนื่องจากปัจจัยด้านสภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอยากต้องการควบคุม ดังนั้นทางโรงเรียนจึงเห็นความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีองค์ความรู้ใหม่ๆมาใช้ในการผลิตการเป็นผู้ผลิตพืชผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี ซึ่งนำไปสู่ วิถีการเกษตรอินทรีย์ เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญและเรียนรู้วิธีการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดสารเคมี แต่ในสถานการณ์ในการทำการเกษตร เกิดปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ฤดูการและความแห้งแล้งที่ยากต่อการ ควบคุมผลผลิตได้ ทำให้ผลผลิตการเกษตรไม่ได้ผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้และทำให้เกิดภาวะขาดทุน ทำให้รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครอบครัว ส่งผลให้ชุมชนมีฐานะยากจน พ่อแม่ต้องย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเมือง ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน ทำให้เกิดปัญหาสังคม ในส่วนของทักษะวิชาการ ร่วมกันจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนโดยบูรณาการสอดแทรกวิชาหลัก (STEM Education) โดยเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงพัฒนากระบวนการเพาะปลูกตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง และสามารถแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ ภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากเริ่มโครงการ จะส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะวิชาการ รวมถึงกระบวนการเรียนรู้ในการทำงานเป็นทีม มีทักษะการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา สามารถนำความรู้ด้านเทคโนโลยียุค4.0 ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิดรายได้ในครัวเรีอนเพิ่มขึ้น พึ่งพาตนเองได้ ลดการย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเมือง เด็กรักถิ่นเกิดของตนเองเป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบ และสามารถสร้างอาชีพได้อย่างแท้จริง
เกษตรยุคใหม่ ใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาผลผลิต

ปัญหาและสาเหตุ

จากสภาพปัจจุบัน โรงเรียนพระพุทธบาทวิทยาได้มีการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนด้วยกิจกรรมยุวเกษตรกรเน้นเรื่องอาหารปลอดภัยใช้ในโครงการอาหารกลางวันและการสร้างรายได้ระหว่างเรียนแต่ผลผลิตที่ได้รับไม่เพียงพอเนื่องจากปัจจัยด้านสภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอยากต้องการควบคุม

แนวทางการแก้ปัญหา
       ดังนั้นทางโรงเรียนจึงเห็นความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีองค์ความรู้ใหม่ๆมาใช้ในการผลิตการเป็นผู้ผลิตพืชผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี ซึ่งนำไปสู่ วิถีการเกษตรอินทรีย์ เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญและเรียนรู้วิธีการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดสารเคมี   แต่ในสถานการณ์ในการทำการเกษตร เกิดปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ฤดูการและความแห้งแล้งที่ยากต่อการ ควบคุมผลผลิตได้ ทำให้ผลผลิตการเกษตรไม่ได้ผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้และทำให้เกิดภาวะขาดทุน ทำให้รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครอบครัว ส่งผลให้ชุมชนมีฐานะยากจน พ่อแม่ต้องย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเมือง ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน ทำให้เกิดปัญหาสังคม

สิ่งที่โรงเรียนจะดำเนินการ 
                การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้านการเกษตร การนำเทคโนโลยียุคเข้ามาช่วยในการเพาะปลูก การสร้างศูนย์การเรียนรู้การปลูกพืชแบบสมาร์ฟราม(เกษตรอินทรีย์)  
           ส่วนของทักษะวิชาการ ร่วมกันจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนโดยบูรณาการสอดแทรกวิชาหลัก (STEM Education) โดยเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคำนวน ไปใช้ในการเชื่อมโยงพัฒนากระบวนการเพาะปลูกตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง และสามารถแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ 

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงการ
       ภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากเริ่มโครงการ จะส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ และทักษะวิชาการควบคู่กันไป รวมถึงกระบวนการเรียนรู้ในการทำงานเป็นทีม มีทักษะการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิดรายได้ในครัวเรีอนเพิ่มขึ้น พึ่งพาตนเองได้ ลดการใช้สารเคมี ลดการย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเมือง เป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบ และสามารถสร้างอาชีพได้อย่างแท้จริง


วัตถุประสงค์
มุ่งสร้างให้เยาวชนเป็นเด็กเก่งและเด็กดี ของสังคมและประเทศชาติ โดยเน้นพัฒนาด้านต่างๆดังนี้
การพัฒนาด้านทักษะและสมรรถนะ/ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา/ การพัฒนาด้านคุณธรรม/ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตเด็กและอาชีพ
แบบไฮโดโปรนิกส์
1.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้เครื่องมือใช้งาน อุปกรณ์ควบคุม และการเขียนโปรแกรม ควบคุมอุปกรณ์
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถต่อยอดความรู้ไปสู่นวัตกรรมใหม่ เพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการเดิม เช่นการเกษตร ระบบควบคุมระบบไฟ ระบบการให้น้ำ ความชื่น
3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถนำนวัตกรรมไปสู่ชุมชน สร้างวิทยากรน้อยที่สามารถให้ความรู้แก่ชุมชน
4.เพื่อส่งเสริมให้สามารถเชื่อมโยงชุมชนเข้ากับโรงเรียนที่เป็นแห่งความรู้แบบยั่งยืนได้
5. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านและเป็นผู้ประกอบการในอนาคต
6. เพื่อส่งเสริมการสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการมีจิตสาธารณะทั้งในและนอกชั่วโมงเรียน
7เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและการพัฒนาชุมชนของตนเอง
8. .เพื่อส่งเสริมให้ครูเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) ให้กับนักเรียนได้

กลุ่มเป้าหมาย
1. นักเรียน ป.4 จำนวน 21 คน
2. นักเรียน ป.5 จำนวน 25 คน
3. นักเรียน ป.6 จำนวน 24 คน
4. นักเรียน ม.1 จำนวน 10 คน
5. นักเรียน ม.2 จำนวน 18 คน
6. นักเรียน ม.3 จำนวน 8 คน
7. ครูหรือบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 14 คน

รายละเอียดโครงการ

1. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ในการเรียนรู้(Kidbrignt)

2.มีกิจกรรมการเลี้ยงวัว เพื่อ นำมูลวัว มาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ โดยมีเศษวัสดุ ต่างๆที่มีอยู่มาทำปุ๋ยหมักโดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีเข้าช่วยในการพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆให้เกิดกับผู้เรียน

3.จัดสภาพแวดล้อมการผลิตพืชที่มีความต้องการอากาศที่เหมาะสม สามารถควบคุมสภาพอากาศที่พืชต้องการได้ โดยใช้นวัตกรรมระบบรังผึ้งสู่ห้องเย็น ซึ่งถือเป็นฐานแห่งการเรียนรู้ เพื่อขยายสู่ชุมชน

4.อบรมพัฒนาบุคลากร ครู  14    นักเรียน             จำนวน 106 คน

เพื่อนำความรู้ที่ได้มาใช้เป็นแนวทางแก่ครู นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปปฏิบัติจริง ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ 

5.ออกแบบหลักสูตรโดยบูรณาการสอดแทรกกับสาระวิชาหลัก (STEM Education).ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวนในชั้นเรียนเริ่มจากชั้นประถมศึกษาปีที่1จัดการเรียนการสอนการแก้ปัญหา ฬช้โปรแกรมอย่างง่าย ใช้เว็บไซต์Code.org

ชั้นประถมศึกษาปีที่2-3การแก้ปัญหาโดยใช้ตรรกะได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่4เริ่มเขียนโปรแกรมอย่างง่าย(Scrath)ชั้นประถมศึกษาปีที่5 เขียนโปรแกรม สั่งอุปกรณ์(Kidbrignt)หนึ่งห้องเรียนหนึ่งนวัตกรรมสั่งการในโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่ชั้นมัธยมมศึกษาปีที่1 มีนวัตกรรมเป็นของตนเอง สั่งอุปกรณ์(Kidbrignt) ชั้นมัธยมมศึกษาปีที่ 2 เขียนโปรแกรมโดยหลักการLogic   เขียนคำสั่งไทยใช้Phylonหรือคำสั่งอุปกรณ์/ Kidbrignt ชั้นมัธยมมศึกษาปีที่ 3 สามารถเป็นวิทยากรผู้ช่วยครูในการจัดการเรียนการสอนรุ่นน้องและต่อยอดความรู้ด้านอื่นๆต่อไป

6.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการเรียนรู้Ictเพื่อความยั่งยืนส่งต่อรุ่นต่อรุ่น โดยวางโครงสร้างการบริหารจัดการให้เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างนักเรียน ครู กระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์พัฒนาต่อยอด ซึ่งจะนำไปสู่การพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

7. ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนนรู้เพื่อให้ชุมชนและโรงเรียนโดยรอบ

หาช่องทางประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสม และหลากหลาย เพื่อให้ชุมชนโดยรอบ และโรงเรียนใกล้เคียง มาดูงานแหล่งเรียนรู้การปลูก เมล่อนไฮโดรโปนิกส์  รวมทั้งฝึกให้นักเรียนเป็นวิทยากรเพื่อเพิ่มทักษะในการสื่อสาร


แผนการดำเนินงาน
วางแผนการดำเนินงาน มกราคม 2564
จัดซื้ออุปกรณ์ พฤษภาคม 2564
อบรมพัฒนาบุคลากร ครู นักเรียนจำนวน 25 คน สิงหาคม 2564
จัดทำหลักสูตรโดยบูรณาการสอดแทรกกับสาระวิชาหลัก (STEM )ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวนใ? สิงหาคม 2564
จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร (STEM) กันยายน 2564
จัดตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์การเรียนรู้เพื่อความยั่งยืนของโครงการ พฤศจิกายน 2564
ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนนรู้เพื่อให้ชุมชนและโรงเรียนโดยรอบ พฤศจิกายน 2564
สรุปผลการดำเนินโครงการ เมษายน 2565

การประเมินผล
1. C04 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกวิชาของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกวิชาตั้งแต่3.0 ขึ้นไป
2. C04A ผู้เรียนระดับประถมศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกวิชา ตั้งแต่ 3.0 ขึ้นไป
3. C04B ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกวิชา ตั้งแต่ 3.0 ขึ้นไป
4. C10A ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ป. 6 ที่มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ (21stCentury Skills) ในระดับดีขึ้นไป
5. C10B ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ม. 3ที่มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ (21stCentury Skills) ในระดับดีขึ้นไป
6. C11A ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ป. 6 ที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป
7. C11B ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ม. 3ที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป
8. H03 ร้อยละของโครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่บรรลุผลตามเป้าหมาย ผู้สอน
9. H12A ร้อยละของผู้สอนระดับประถมศึกษาที่มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learningในระดับดีขึ้นไป
10. H12B ร้อยละของผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learningในระดับดีขึ้นไป
11. H13Aร้อยละของผู้สอนระดับประถมศึกษาที่มีความสามารถและประยุกต์ใช้ไอซีทีในการจัดการเรียนรู้ในระดับดีขึ้นไป
12. H13Bร้อยละของผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถและประยุกต์ใช้ไอซีทีในการจัดการเรียนรู้ในระดับดีขึ้นไป
13. H14 ร้อยละของผู้สอนที่มีกระบวนการพัฒนาตนเองที่มีประสิทธิภาพในระดับดีขึ้นไป
14. C15A ร้อยละของแผนการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษาที่เป็นนแบบ Active Learning
15. C15B ร้อยละของแผนการจัดการเรียนรู้ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่เป็นนแบบ Active Learning
16. C16A ร้อยละของระดับชั้นระดับประถมศึกษาตอนปลายที่บูรณาการหลักสูตรท้องถิ่นที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนในกลุ่ม
17. C16 ร้อยละของระดับชั้นที่มัธยมศึกษาต้นต้นบูรณาการหลักสูตรที่องถิ่นที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Child-Centered Learning)
18. C17A ร้อยละของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ทำให้ผู้เรียนค้นพบความถนัด และรู้จักอาชีพในระดับประถมศึกษาตอนปลาย
19. C17Bร้อยละของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ทำให้ผู้เรียนค้นพบความถนัด รู้จักอาชีพและแนวทางการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
20. M01A ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนระดับประถมศึกษา
21. M01B ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
22. M03 ร้อยละของการมีส่วนร่วมทางการศึกษาของชุมชนและสังคม
23. D03A ร้อยละของอุปกรณ์ทดลองและสื่อการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา
24. D03B ร้อยละของอุปกรณ์ทดลองและสื่อการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

งบประมาณ
ลำดับ รายการ จำนวน ราคาต่อหน่วย จำนวนเงิน
รวม 0.00

ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางชมเดือน คำผัด
คณะครูทุกท่าน
แผนการดำเนินงาน
7/8
88%
Start |
S |
11.01.64
End |
E |
31.03.64
Complete
Start |
S |
01.05.64
End |
E |
31.05.64
Complete
Start |
S |
01.08.64
End |
E |
13.08.64
Complete
Start |
S |
16.08.64
End |
E |
31.08.64
Complete
Start |
S |
01.09.64
End |
E |
29.04.65
Complete
Start |
S |
01.11.64
End |
E |
29.04.65
Complete
Start |
S |
01.11.64
End |
E |
29.04.65
Complete
Start |
S |
01.04.65
End |
E |
29.04.65
Over Due
การดำเนินงาน
วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ ใบเสร็จรับเงิน
11/08/64 โครงสร้างหุ่นยนต์ Kit7 (โครงอเนกประสงค์) แบบไม่เอารังถ่าน จำนวน 4 ชุด 0.00 1,540.00 1,540.00
30/07/64 กล่องพลาสติกใหญ่ จำนวน 2 กล่อง (สำหรับเก็บรวมรวมอุปกรณ์ IOT ทั้งหมด) 0.00 575.00 575.00
03/03/64 เทอมินอล ต่อสายไฟ จำนวน 6 ชิ้น 0.00 173.00 35,603.00
03/03/64 ปั้มน้ำ dc 12 v จำนวน 6 ชิ้น 0.00 351.00 35,776.00
03/03/64 DHT11ตัววัดอุณหภูมิและความชื่น จำนวน 50 ชิ้น 0.00 1,320.00 36,127.00
02/03/64 โมดูลเซ็นเซอร์ตรวจจับความชื้นในดิน จำนวน 25 ชิ้น 0.00 639.00 37,447.00
01/03/64 ถ่าน 18650 จำนวน 10 ชิ้น 0.00 329.00 38,086.00
01/03/64 เคส เพาเวอร์แบงค์ จำนวน 5 ชิ้น 0.00 140.00 38,415.00
01/03/64 อะแดปเตอร์ 12v 2a จำนวน 6 ชิ้น 0.00 329.00 38,555.00
27/02/64 โมดุล nodemcu พร้อมขาเชื่อมต่อ ชุดที่ 2 จำนวน 20 ชิ้น 0.00 2,604.00 38,884.00
27/02/64 กล่องบล็อกกันน้ำ 21*32*15 cm จำนวน 5 ชิ้น 0.00 576.00 41,488.00
27/02/64 โมดุล nodemcu พร้อมขาเชื่อมต่อ จำนวน 30 ชิ้น 0.00 3,759.00 42,064.00
27/02/64 สาย USB จำนวน 50 ชิ้น 0.00 667.00 45,823.00
27/02/64 อะแดปเตอร์ 5v 500 ma จำนวน 50 ชิ้น 0.00 567.00 46,490.00
27/02/64 วาวล์น้ำ 220v โซลินอย จำนวน 5 ชิ้น 0.00 788.00 47,057.00
27/02/64 สายแพต่อวงจร ผู้-ผู้ จำนวน 10 ชิ้น 0.00 399.00 47,845.00
27/02/64 สายแพต่อวงจร เมีย-ผู้ จำนวน 10 ชิ้น 0.00 320.00 48,244.00
27/02/64 สายแพต่อวงจร เมีย-เมีย จำนวน 10 ชิ้น 0.00 320.00 48,564.00
27/02/64 Relay 5v 2 channel จำนวน 25 ชิ้น 0.00 1,267.00 48,884.00
27/02/64 Relay 5v 4 channel จำนวน 25 ชิ้น 0.00 1,950.00 50,151.00
27/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10,000.00 0.00 52,101.00 -
26/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 42,101.00 -
25/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 100.00 0.00 42,100.00 -
25/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 56.02 0.00 42,000.00 -
25/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 9.00 0.00 41,943.98 -
24/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 41,934.98 -
24/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 41,434.98 -
24/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 40,434.98 -
24/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 39,434.98 -
23/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 20.00 0.00 38,434.98 -
23/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 20.00 0.00 38,414.98 -
23/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 100.00 0.00 38,394.98 -
23/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 38,294.98 -
22/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 37,294.98 -
22/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 20.00 0.00 36,794.98 -
22/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 8.00 0.00 36,774.98 -
21/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10,000.00 0.00 36,766.98 -
21/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10,000.00 0.00 26,766.98 -
19/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 16,766.98 -
19/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10,000.00 0.00 16,765.98 -
17/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 6,765.98 -
17/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10.00 0.00 5,765.98 -
15/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 5,755.98 -
14/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 5,255.98 -
11/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 4,255.98 -
10/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 509.00 0.00 3,755.98 -
10/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 3,246.98 -
09/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 2,246.98 -
09/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 200.00 0.00 1,246.98 -
01/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 1,046.98 -
01/12/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 1,045.98 -
29/11/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 45.98 -
20/11/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 44.98 -
26/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 43.98 -
26/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 1.00 0.00 42.98 -
26/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 9.00 0.00 41.98 -
26/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10.00 0.00 32.98 -
22/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 10.00 0.00 22.98 -
22/10/63 เงินสนับสนุนโครงการ 9.00 0.00 12.98 -
คำขอบคุณ
โทร.
ผู้อำนวยการโรงเรียน
  • participation
    ระดับชั้นที่เปิดสอน
    -
  • grey-school
    จำนวนห้องเรียน
  • student-count
    จำนวนนักเรียน
  • teacher-count
    จำนวนครู
  • ภาพบริเวณโรงเรียน
    School Grading ปีการศึกษา 2566
    grading-line
    ด้านผู้เรียน
    ด้านผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา
    ด้านหลักสูตรและการสอน
    ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
    ด้านการมีส่วนร่วม
    O-NET
    ปีการศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
    ผู้บริจาคสูงสุด
    อันดับ ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาครวม
    ผู้บริจาคล่าสุด
    วันที่บริจาค ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาค