คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กความหวังสู่โลกยุคใหม่
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กความหวังสู่โลกยุคใหม่
โรงเรียนวัดไผ่ขาด จ.สุพรรณบุรี
ได้รับบริจาคแล้ว
144,693.25 บาท
เป้าหมาย
499,994.00 บาท
28%
434 views
เหลือ 43 วัน
hearts
เพิ่มในโครงการที่สนใจ
Share this

เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา พัฒนาเด็กไทย ใช้เทคโนโลยี อย่างสร้างสรรค์ ในยุคดิจิทัล CONNEXT ED เห็นคุณค่าพร้อมมอบโอกาสและความเท่าเทียม ร่วมส่งเสริม และพัฒนาการเรียนรู้ เตรียมพร้อมนักเรียนวัดไผ่ขาด ก้าวสู่ศตวรรษที่ ๒๑ คู่คุณภาพ และความปลอดภัย เสริมสร้างทักษะชีวิต
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กความหวังสู่โลกยุคใหม่

        ศตวรรษที่ 21 ถือเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในหลายด้าน โดยหนึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ คือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด นวัตกรรมใหม่ๆ ได้เข้ามามีบทบาทและขยาย ผลไปสู่การดำรงชีวิตของมนุษย์เกินความคาดหมาย และมีแนวโน้มในการเพิ่มขีดความสามารถมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในพื้นที่ส่งผลให้ไม่ สามารถเปิดเรียนปกติได้ นักเรียนขาดอุปกรณ์การเรียนรูปแบบออนไลน์ 

        โดยหนึ่งในกลไกสำคัญที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ คือ การพัฒนาทักษะของเด็กไทยใน ศตวรรษที่ 21 ผ่านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนไทยตลอดจน ประชาชนและบุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร สาระความรู้ต่างๆ จากทั่วทุกมุมโลกได้ อย่างทั่วถึงและทัดเทียม มุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่สร้านวัตกรรม สามารถบูรณาการหรือเชื่อมโยงทั้ง ด้านศาสตร์ ศิลป์ ชีวิต และเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการตามความถนัดของผู้เรียนเป็นสำคัญ 

       โรงเรียนวัดไผ่ขาด ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคลควบคู่กับการส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างทัดเทียมและทั่วถึง จึงอยากจัดทำการบริจาคเพื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริม “โครงการ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กเพื่อการศึกษายุคใหม่ (Notebook for Education of New Normal) โดยเชื่อมโยงเครืองมือหรือเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเสริมการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการสถานศึกษาให้กับครูและนักเรียนในโรงเรียนเปิดโอกาสในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructures) ยิ่ง ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริม่ให้เกิดทักษะการสืบค้นและเรียนรู้ด้วยตนเอได้ทุกที่ ทุกเวลา สามารถต่อ ยอดความรู้เดิมและประยุกต์ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมทั้งตนเองกับสังคม 


วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปิดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร สาระความรู้ สื่อการสอนดิจิทัล จากทั่วทุกมุมโลกได้อย่างทัดเทียมทุกที่ทุกเวลาและทั่วถึง แม้ในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดาร
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Center) ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะตั้งคำถาม ค้นหาคำตอบ ลงมือทำร่วมกัน อภิปรายด้วยเหตุผล และปรับปรุงพัฒนาเพื่อ
ต่อยอดการเรียนการสอนพัฒนาสู่การเรียนแบบ Active Learning จนนำไปสู่การพัฒนาทักษะเด็กไทยในศตวรรษที่ 21
3. เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการข้อมูล และการออกแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านรูปแบบดิจิทัลได้อย่างมือ
อาชีพ
4. เพื่อส่งเสริมให้ “ผู้สอนผู้เรียน” สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก และการรู้เท่าทันเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบโจทย์การศึกษาไทยในยุคดิจิทัล
5. เพื่อส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีการใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กในการสืบค้นและขยายทักษะองค์ความรู้ นอกเหนือจากในห้องเรียนสู่การเรียนรู้ทักษะอาชีพหรือเรื่องที่สนใจอื่นๆ ได้ตามความถนัดของผู้เรียน
6. เพื่อเสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการจัดการศึกษาของบุตรหลานตนเอง


กลุ่มเป้าหมาย
1. นักเรียนป.5 จำนวน 21 คน
2. ครูหรือบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 3 คน

รายละเอียดโครงการ

นักเรียนสามารถเข้าถึงคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สื่อการสอนดิจิทัล และแหล่ง เรียนรู้ออนไลน์ เปิดโอกาสในการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 

นักเรียนมีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy ) ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learnin

ตารางคอมพิวเตอร์ครู

คอมพิวเตอร์ชื่อ - นามสกุล
Com 1นางสาวอาภาพัชร์  ถั่วทอง
Com 2นางสาวนพรัตน์  มิ่งมีสุข
Com 3นางสาวนาฎอนงค์ ศรีวิเชียร
Com 4นางรุ่งรัตน์  ผิวเผือด
Com 5นางลัดดาวัลย์  บุญส่งดี

ตารางคอมพิวเตอร์นักเรียน

คอมพิวเตอร์ชื่อ - นามสกุล
Com 6เด็กชายตรีภูมิ   ม่วงคุ้ม
Com 8เด็กชายธนกาญจน์ ไตรทอง
Com 9เด็กชายสิงหา  ทองดี
Com 10เด็กชายจิรศักดิ์  กองม่วง
Com 11เด็กชายสิรภพ  คำวิชา
Com 12เด็กชายตะวัน  ม่วงศรี
Com 13เด็กชายอรุณ  พุ่มพวง
Com 14เด็กชายภาสกร  แซ่พั้ง
Com 15เด็กชายกิตติกานต์ สกุลวรวัฒน์
Com 16เด็กชายสุเมธ   -
Com 17เด็กชายสหรัฐ  ทองเกษม 
Com 18เด็กชายปัญญา  นครคุปต์ 
Com 19เด็กหญิงณัฐธิดา  อ่อนดี
Com 20เด็กหญิงธนัญญา เทพเพราะ
Com 21เด็กหญิงปาริตา ชาวทำนา
Com 22เด็กหญิงพิมญาดา คงอินทร์
Com 23เด็กหญิงสุพรรณษา  พันวิเศษ
Com 24เด็กหญิงสุนทรี  รุ่งเรือง

กระบวนการจัดการเรียนการสอน

จัดอบรมทักษะการใช้เทคโนโลยีแก่คณะครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมวิธีการดูแลรักษาเบื้องต้น และร่วมบันทึกข้อตกลงในพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

บทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดังนี้   จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพัฒนาผู้เรียนและเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงของผู้เรียน โดยเน้นการใช้คอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ๊คในการสืบค้นและเสริมกระบวนการเรียนรู้

1.       สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี

กับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน

2.       จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมทั้ง

กระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้

3.       จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน

4.       จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่หลากหลาย

5.       วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหา และกิจกรรม

6.       ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของที่ผู้เรียน

7.      วัดและประเมินผลตามสภาพจริงและตามศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล

การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning  

1.  ส่งเสริมการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

2.  ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด

3.  เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

4.  เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน

5.  ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

6.  เน้นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง

7.  ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง

8. ส่งเสริมกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิดรวบยอด

9.  ครูผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง

10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน


แผนการดำเนินงาน
ดำเนินการจัดทำเอกสารขึ้นระบบขอรับการสนับสนุน กันยายน 2564
รอรับงบประมาณ ตุลาคม 2564
ดำเนินการจัดซื้ออุปกรณ์พร้อมติดตั้ง พร้อมรายงานสถานะโครงการในระบบ กุมภาพันธ์ 2565
จัดอบรมการวิธีการใช้งานและดูแลรักษาแก่นักเรียนและคณะครู พฤษภาคม 2565
ลงทะเบียนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ พฤษภาคม 2565
ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนรายวิชา พฤษภาคม 2565
วัดและประเมินผล พฤษภาคม 2565

การประเมินผล
1. ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร สาระความรู้ สื่อการสอนดิจิทัล จากทั่วทุกมุมโลก ได้อย่างทัดเทียมทุกที่ทุกเวลาและทั่วถึง แม้ในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดาร
2. ระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Center) ส่งเสริมให้ ผู้เรียนรักที่จะตั้งค าถาม ค้นหาค าตอบ ลงมือท าร่วมกัน อภิปรายด้วยเหตุผล และปรับปรุงพัฒนาเพื่อ ต่อยอดการเรียนการสอนพัฒนาสู่การเรียนแบบ Active Learning จนน าไปสู่การพัฒนาทักษะเด็กไทยใน ศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การบริหารจัดการข้อมูล และการออกแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านรูปแบบดิจิทัลได้อย่างมือ อาชีพ
4. ครูผู้สอนผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก และการรู้เท่าทันเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบโจทย์การศึกษาไทยในยุค ดิจิทัล 5 เพื่อส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีการใช้คอมพิวเต
5. ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีการใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กในการสืบค้นและขยายทักษะองค์ความรู้ นอกเหนือจากในห้องเรียน สู่การเรียนรู้ทักษะอาชีพหรือเรื่องที่สนใจอื่นๆ ได้ตามความถนัดของผู้เรียน
6. เสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการจัดการศึกษาของบุตรหลาน ตนเอง

งบประมาณ
ลำดับ รายการ จำนวน ราคาต่อหน่วย จำนวนเงิน
1 Notebook Accer TravelMate TMP214-53-57UM/T003(หรือ ยี่ห้ออื่น) หรือดีกว่า สำหรับครู หน้าจอแสดงผล14.0" ระดับ HD หน่วยประมวลผล Intel Core i5-1135G7 Processor หรือดีกว่า หน่วยประมวลผลกราฟฟิก Intel Iris Xe Graphics(Integrated Graphics) หรือดีกว่า Hard Drive ความจุ1 TB และ RAM DDR4 8GB หรือมากกว่า 5 เครื่อง 22,000.00 110,000.00
2 Notebook Accer TravelMate TMP214-53-57UM/T003(หรือ ยี่ห้ออื่น) หรือดีกว่า สำหรับนักเรียน หน้าจอแสดงผล14.0" ระดับ HD หน่วยประมวลผล Intel Core i5-1135G7 Processor หรือดีกว่า หน่วยประมวลผลกราฟฟิก Intel Iris Xe Graphics(Integrated Graphics) หรือดีกว่า Hard Drive SSD ความจุ 256GB และ RAM DDR4 8GB หรือมากกว่า 19 เครื่อง 20,526.00 389,994.00
รวม 499,994.00

ผู้รับผิดชอบโครงการ
หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการบริหารโครงการ
คณะกรรมการบริหารโครงการ
คณะกรรมการบริหารโครงการ
เจ้าหน้าที่พัสดุ
ครูผู้สอนและคณะกรรมการบริหารโครงการ
ครูผู้สอนและคณะกรรมการบริหารโครงการ
แผนการดำเนินงาน
0/7
0%
Start |
S |
13.09.64
End |
E |
16.09.64
Over Due
Start |
S |
29.10.64
End |
E |
31.12.64
Over Due
Start |
S |
01.02.65
End |
E |
31.03.65
Over Due
Start |
S |
02.05.65
End |
E |
06.05.65
Over Due
Start |
S |
02.05.65
End |
E |
06.05.65
Over Due
Start |
S |
16.05.65
End |
E |
31.03.66
Over Due
Start |
S |
31.05.65
End |
E |
31.03.66
Over Due
การดำเนินงาน
วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ ใบเสร็จรับเงิน
02/01/67 เงินสนับสนุนโครงการ 100.00 0.00 100.00 -
28/09/66 เงินสนับสนุนโครงการ 75,000.00 0.00 75,000.00 -
29/08/65 เงินสนับสนุนโครงการ 17,075.25 0.00 17,075.25 -
30/04/65 เงินสนับสนุนโครงการ 8.00 0.00 8.00 -
29/04/65 เงินสนับสนุนโครงการ 50,000.00 0.00 50,000.00 -
18/04/65 เงินสนับสนุนโครงการ 10.00 0.00 10.00 -
01/04/65 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
02/03/65 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
28/02/65 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
30/12/64 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
26/11/64 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
คำขอบคุณ
  • Donate Admin
    3 ปีที่แล้ว
  • โรงเรียนวัดไผ่ขาดขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุน และมอบโอกาสด้านการศึกษาแก่เราชาวไผ่ขาด ทุกๆท่าน
    วัดไผ่ขาด
    371 หมู่ 9 ถ.- ต.ศรีสำราญ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี 72110
    โทร. 0862643895
    ผู้อำนวยการโรงเรียน
    นายศิวสันต์ สิงหะหล้า
  • participation
    ระดับชั้นที่เปิดสอน
    อนุบาล- ป. 6
  • grey-school
    จำนวนห้องเรียน
    8
  • student-count
    จำนวนนักเรียน
    144
  • teacher-count
    จำนวนครู
    12
  • ภาพบริเวณโรงเรียน
    School Grading ปีการศึกษา -1
    0.56
    grading-line
    ด้านผู้เรียน
    0.56
    ด้านผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา
    0.00
    ด้านหลักสูตรและการสอน
    0.00
    ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
    0.00
    ด้านการมีส่วนร่วม
    0.00
    O-NET
    ปีการศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
    ผู้บริจาคสูงสุด
    อันดับ ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาครวม
    ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ 50,000.00
    ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 17,075.25
    Sornsiri Voravarn 1,000.00
    4 อัจฉรียา นพวิญญูวงศ์ 500.00
    5 Aom 500.00
    6 นิธิภัทร กมลสุข 500.00
    7 S.KAEWNIYOMCHAISRI 100.00
    8 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 18.00
    9 - -
    10 - -
    ผู้บริจาคล่าสุด
    วันที่บริจาค ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาค
    02.01.2567 S.KAEWNIYOMCHAISRI 100.00
    29.08.2565 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 17,075.25
    30.04.2565 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 8.00
    29.04.2565 ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ 50,000.00
    18.04.2565 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 10.00
    01.04.2565 อัจฉรียา นพวิญญูวงศ์ 500.00
    02.03.2565 Sornsiri Voravarn 500.00
    28.02.2565 Aom 500.00
    30.12.2564 นิธิภัทร กมลสุข 500.00
    26.11.2564 Sornsiri Voravarn 500.00