Notebook For New Normal
Notebook For New Normal
โรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง จ.ตราด
ได้รับบริจาคแล้ว
1,502.00 บาท
เป้าหมาย
500,000.00 บาท
0%
189 views
เหลือ 39 วัน
hearts
เพิ่มในโครงการที่สนใจ
Share this

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีในการสนับสนุนการศึกษา ถือเป็นแหล่งเรียนรู้อันมีค่าและสำคัญยิ่งต่อผู้เรียน ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถาม ค้นหาคำตอบ และลงมือปฏิบัติ เพื่อต่อยอดการเรียนการสอนพัฒนาสู่การเรียนรู้แบบ Active Learning จนนำไปสู่การพัฒนาทักษะเด็กไทยในศตวรรษที่ 21
Notebook For New Normal

                    โรงเรียนบ้านอ่างกะป่องได้พยายามพัฒนาปรับแผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อจะรองรับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งแผนในการอบรมครูในการใช้แอปพลิเคชั่น โปรแกรมที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบ on line การพัฒนาทักษะการใช้สื่อ/อุปกรณ์ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบ on line ของนักเรียน  ประกอบกับปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านอ่างกะป่องได้พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) ซึ่งการค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค เป็นเครื่องมือที่สำคัญ เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์ลาง (Child Center) ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะตั้งคำถาม ค้นหาคำตอบ ลงมือทำร่วมกัน อภิปรายด้วยเหตุผล และปรับปรุงพัฒนา เพื่อต่อยอดการเรียนการสอนพัฒนาสู่การเรียนแบบ Active Learning จนนำไปสู่การพัฒนาทักษะเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณทำให้โรงเรียนไม่สามารถจัดหาสื่อ/อุปกรณ์/เครื่องมือ ที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบ on line ได้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ของนักเรียน   โรงเรียนบ้านอ่างกะป่องจึงทำโครงการ Notebook for New Normal ขึ้น รับบริจาคเพื่อการศึกษาเพื่อจัดหาคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 27 เครื่อง และครูผู้สอนจำนวน  3 เครื่อง นำมาสนับสนุนการศึกษายุคดิจิทัล ทำให้การเรียนการสอนในยุค New Normal ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา


วัตถุประสงค์
1. เพี่อจัดหาคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คสำหรับสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนการสอนในช่วงการแพร่ระบาดของ covid-19 และการศึกษาในยุคดิจิทัล
2. เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ในการฝึกทักษะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ และการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อขยายทักษะ องค์ความรู้นอกห้องเรียน สู่การเรียนรู้ทักษะอาชีพหรือเรื่องที่สนใจอื่นๆ ได้ตามความต้องการ ความถนัดของผู้เรียน
4. เพื่อเสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการจัดการศึกษาของบุตรหลานตนเอง


กลุ่มเป้าหมาย
1. นักเรียนป.5 จำนวน 14 คน
2. นักเรียนป.6 จำนวน 13 คน
3. ครูหรือบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 3 คน

รายละเอียดโครงการ

ระยะที่ 1 การเตรียมความพร้อม โครงการ Notebook for New Normal ซึ่งมีรูปแบบและแนวทาง ดังนี้

  1. โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) ระดับชั้น ป.5-6 โครงสร้างหลักสูตร 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
  2. ครูออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) โดยบูรณาการกับ แพลตฟอร์ม VLEARN โดยมี 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่เป็นกิจกรรมตามสาระ 5 สาระ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม)
  3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) โดยบูรณาการกับ แพลตฟอร์ม VLEARN
  4. ครูสร้าง แพลตฟอร์ม VLEARN หลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง ที่ส่งเสริม Projectbase Learning และทักษะอาชีพ
  5. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ผ่าน แพลตฟอร์ม VLEARN ของนักเรียนชั้น ป.5-6 (ใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในห้องคอมพิวเตอร์ตามจำนวนที่มี เพื่อให้นักเรียนรู้วิธีการเรียน)

          ระยะที่ 2 การดำเนินโครงการ Notebook for New Normal ซึ่งมีรูปแบบและแนวทาง ดังนี้ 

  1. อบรมแนวทางการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนแบบ Notebook-based Learning (สำหรับระดับชั้น ป.5-ป.6) ให้กับครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  2. ครูที่ได้รับการอบรม จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้พื้นฐานแบบ Notebook-based Learning (สำหรับระดับชั้น ป.5-ป.6) สาระตามหลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) ซึ่งเป็นแผนแบบบูรณาการข้ามสาระ และข้ามชั้นเรียน เพื่อนำมาสอนในชั่วโมงลดเวลาเรียน ซึ่งมีโครงสร้าง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ และบูรณาการกับ แพลตฟอร์ม VLEARN หลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง ที่พัฒนาขึ้น โดยมี 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่เป็นกิจกรรมตามสาระ 5 สาระ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม)
  3. ครูที่ได้รับการอบรมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนแบบ Notebook-based Learning สำหรับระดับชั้น ป.5-ป.6 แบบบูรณาการข้ามสาระ และข้ามชั้นเรียน ตามหลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง (การพัฒนาอาชีพ บนฐาน Project Base Learning) และบูรณาการกับ แพลตฟอร์ม VLEARN หลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง โดยจัดกิจกรรมเป็นกลุ่ม เน้นการลงมือปฏิบัติ และเป็นรูปแบบการเรียนแบบ Active Learning  โดยมี 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่เป็นกิจกรรมตามสาระ 5 สาระ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม) ที่เป็นการเรียนแบบเดี่ยวที่มีการใช้โน้ตบุ๊คแบบ 1 : 1 ของนักเรียนชั้น ป.5-6
ลำดับรหัสนักเรียนคำนำหน้าชื่อ - สกุลชั้นหมายเลขประจำเครื่อง
11521เด็กชายอภิเดช  ชีวะการณ์ป.501
21522เด็กชายเตชณัช  ใจสุทธิป.502
31525เด็กชายพาคินทร์  สิญญานันท์ป.503
41527เด็กชายสิทธิพงศ์  เฉื่อยฉ่ำป.504
51528เด็กชายอนุพนธ์  ผดุงสัตย์ป.505
61529เด็กหญิงนภัสธิดา  ชัยพงษ์ป.506
71531เด็กหญิงปาณิศา  นิลวิมุตป.507
81533เด็กหญิงวลาลี  เลิศศรีป.508
91534เด็กหญิงณกานดา  แววสว่างป.509
101535เด็กหญิงลิลดา  แสงทิพย์ป.510
111536เด็กหญิงสุภณิดา  คำพรมป.511
121537เด็กหญิงปัณฑิตา  สุนทวนิคป.512
131658เด็กหญิงขรินทร์ทิพย์  ศรีวิชัยป.513
141653เด็กหญิงอนุชศรา  ฉิมพาลีป.514
151484เด็กชายรักติบูรณ์  ทวีคูณป.615
161485เด็กชายวรภัทร  อนุพงษ์ป.616
171486เด็กชายธีรภัทร  เขตชลธารป.617
181488เด็กชายคณาธิป  เวชศาสตร์ป.618
191489เด็กชายอาทิตย์  ขยันกิจป.619
201490เด็กชายปรภัทพรม  จิ๊วรื่นป.620
211491เด็กชายกชกร  ชอบชนป.621
221494เด็กชายปาเจ  เวชศาสตร์ป.622
231495เด็กหญิงกันยารัตน์  สัตตุสะป.623
241496เด็กหญิงสุจินดา  เนตรสว่างป.624
251501เด็กหญิงธณีญา  ทำเนียบป.625
261503เด็กหญิงเกศแก้ว  ดาราษฎร์ป.626
271608เด็กหญิงศศินภา  แสงจันทร์ป.627
28 นางสาวขนิษฐา ขวัญศิริมงคลครูTeacher01
29 นายธนวิทย์ เต็งรังครูTeacher02
30 นางสาววรรษมน อานามวงษ์ครูTeacher03

แผนการดำเนินงาน
1. ประชุมและสรุปแผนการดำเนินโครงการ สิงหาคม 2564
2. ติดตามรายการรับบริจาคและจัดทำ e-Donation กันยายน 2564
3. ประชาสัมพันธ์โครงการ กันยายน 2564
4. สรุปยอดเงินหลังปิดรับบริจาค ธันวาคม 2564
5. ปรับข้อมูลโครงการตามยอดรับบริจาคจริง มกราคม 2565
6. จัดซื้อโน้ตบุ๊คและอุปกรณ์ มกราคม 2565
7. บันทึกคุรุภัณฑ์โรงเรียน มีนาคม 2565
8. ติดตั้ง Soflware ในคอมพิวเตอร์ มีนาคม 2565
9. เข้าอบรมการออกแบบแผนการเรียนรู้ เมษายน 2565
10.ประชุมและออกแบบแผนการเรียนรู้ของโรงเรียน เมษายน 2565
11. ดำเนินงานตามแผนการเรียนรู้ของโรงเรียน พฤษภาคม 2565
12. ประเมินผลการดำเนินงาน ตุลาคม 2565

การประเมินผล
1. 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ถึง 6 ใช้งานโน้ตบุ๊กไม่น้อยกว่า 100 วัน/ ปีการศึกษา
2. 2. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กในการสืบค้นข้อมูลได้ด้วยตนเอง
3. 3. นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้านทักษะอาชีพหรือเรื่องที่สนใจอื่นๆ ได้ตามความต้องการ ความถนัดของตนเอง
4. 4. โรงเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน

งบประมาณ
ลำดับ รายการ จำนวน ราคาต่อหน่วย จำนวนเงิน
1 คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 30 เครื่อง 15,700.00 471,000.00
2 เมาส์ 30 อัน 200.00 6,000.00
3 Access Point พร้อมติดตั้ง 2 ตัว 5,700.00 11,400.00
4 ตู้เก็บคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 1 ตู้ 5,600.00 5,600.00
5 ระบบไฟภายในห้องเรียนพร้อมติดตั้ง 12 จุด 500.00 6,000.00
รวม 500,000.00

ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวฉันทนา บุญส่ง นางสาวขนิษฐา ขวัญศิริมงคล นางสาววรรษมน อานามวงษ์ นางสาวภาวิณี เต็กเก๊า นางสาวฐิติมา พ่วงสุข นายธนวิทย์ เต็งรัง
นางสาววรรษมน อานามวงษ์ นางสาวประอรศรี ละม่อม
นางสาวภาวิณี เต็กเก๊า
นางสาวประอรศรี ละม่อม
นางสาวขนิษฐา ขวัญศิริมงคล
นางสาวฐิติมา พ่วงสุข
นางสาวฐิติมา พ่วงสุข
นายธนวิทย์ เต็งรัง
น.ส.ขนิษฐา ขวัญศิริมงคล
นางสาวขนิษฐา ขวัญศิริมงคล นางสาววรรษมน อานามวงษ์ นางสาวภาวิณี เต็กเก๊า นางสาวฐิติมา พ่วงสุข นายธนวิทย์ เต็งรัง
นางสาวขนิษฐา ขวัญศิริมงคล นางสาววรรษมน อานามวงษ์ นางสาวภาวิณี เต็กเก๊า นางสาวฐิติมา พ่วงสุข นายธนวิทย์ เต็งรัง
นางสาวฉันทนา บุญส่ง
แผนการดำเนินงาน
1/12
8%
Start |
S |
16.08.64
End |
E |
15.09.64
Complete
Start |
S |
16.09.64
End |
E |
31.12.64
Over Due
Start |
S |
16.09.64
End |
E |
31.12.64
Over Due
Start |
S |
31.12.64
End |
E |
31.12.64
Over Due
Start |
S |
03.01.65
End |
E |
07.01.65
Over Due
Start |
S |
10.01.65
End |
E |
28.02.66
Over Due
Start |
S |
01.03.65
End |
E |
04.03.65
Over Due
Start |
S |
01.03.65
End |
E |
04.03.65
Over Due
Start |
S |
01.04.65
End |
E |
30.04.65
Over Due
Start |
S |
01.04.65
End |
E |
30.04.65
Over Due
Start |
S |
01.05.65
End |
E |
30.09.65
Over Due
Start |
S |
01.10.65
End |
E |
10.10.65
Over Due
การดำเนินงาน
วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ ใบเสร็จรับเงิน
18/01/66 เงินสนับสนุนโครงการ 2.00 0.00 2.00 -
30/07/65 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 1,000.00 -
15/12/64 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
คำขอบคุณ
บ้านอ่างกะป่อง
80 หมู่ 4 ถ.- ต.ท่าโสม อ.เขาสมิง จ.ตราด 23150
โทร. 083-0099638
ผู้อำนวยการโรงเรียน
นางสาวฉันทนา บุญส่ง
  • participation
    ระดับชั้นที่เปิดสอน
    อนุบาล- ม. 3
  • grey-school
    จำนวนห้องเรียน
    12
  • student-count
    จำนวนนักเรียน
    124
  • teacher-count
    จำนวนครู
    18
  • ภาพบริเวณโรงเรียน
    School Grading ปีการศึกษา -1
    1.25
    grading-line
    ด้านผู้เรียน
    0.64
    ด้านผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา
    1.43
    ด้านหลักสูตรและการสอน
    1.25
    ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
    5.00
    ด้านการมีส่วนร่วม
    2.47
    O-NET
    ปีการศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
    ผู้บริจาคสูงสุด
    อันดับ ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาครวม
    Vitaya Kumnerdtonmanee 1,000.00
    KB 500.00
    เซเลอร์ มูน 2.00
    4 - -
    5 - -
    6 - -
    7 - -
    8 - -
    9 - -
    10 - -
    ผู้บริจาคล่าสุด
    วันที่บริจาค ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาค
    18.01.2566 เซเลอร์ มูน 2.00
    30.07.2565 Vitaya Kumnerdtonmanee 1,000.00
    15.12.2564 KB 500.00
    - - -
    - - -
    - - -
    - - -
    - - -
    - - -
    - - -