โครงการ Laptop on Hill : โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยสูง
โครงการ Laptop on Hill : โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยสูง
โรงเรียนบ้านห้วยไคร้ จ.เชียงราย
ได้รับบริจาคแล้ว
334,825.90 บาท
เป้าหมาย
500,000.00 บาท
66%
559 views
เหลือ 62 วัน
hearts
เพิ่มในโครงการที่สนใจ
Share this

โครงการ Laptop on Hill โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย เป็นการสร้างโอกาส สร้างความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา พัฒนานักเรียนในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม Active Learning สู่ผู้เรียนแห่งนวัตกรรม
โครงการ Laptop on Hill : โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยสูง

                    ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 -2579 ได้กำหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วยทักษะและ คุณลักษณะต่อไปนี้ 
                    - 3Rs ได้แก่ การอ่านออก การเขียนได้ และการคิดเลขเป็น 
                    - 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหาทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม 
                    โดยโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ได้จัดทำการบริจาคเพื่อการศึกษา โครงการพัฒนาสื่อ ICT เพื่อเด็กน้อยบนดอยสูง ซึ่งเป็นการตอบสนองทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และตอบสนองยุทธศาสตร์ที่ 4 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายว่าการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6  มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพียงพอ เหมาะสมกับผู้เรียนมีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศให้จัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ไว้ในกลุ่มสาระการรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้เริ่มจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 4 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป 
                    โรงเรียนบ้านห้วยไคร้มีการนำแนวการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มาบริหารจัดการศึกษาภายใต้นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์ ด้วย KING BHUMIBOL Model ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็น Active Learning การเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 
                    ดังนั้นโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ โดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และภาคีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน  จึงจัดทำโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย โดยมุ่งเน้นผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ในด้านการเรียนรู้ของรายวิชาวิทยาการคำนวณ กุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science: CS)   เทคโนโลยสารสนเทศและการสื่อสาร (Information Communication Technology: ICT)  การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy: DL) และเน้นการจัดการเรียนรู้ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ คณิตศาสตร์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา นำผู้เรียนมาใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ในการจัดการเรียนรู้แบบ แบบ Active Learning เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้งด้านทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพสูงขึ้นไปพร้อมกัน 


วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษาและวัฒนธรรม อย่างมีประสิทธิภาพโดยการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คในการเรียนรู้
2.2 เพื่อให้นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 มีความรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ต่อการจัดการเรียนรู้ และพัฒนานวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ได้
2.3 เพื่อให้ครูผู้สอนได้ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทุกรายวิชา แก่นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6


กลุ่มเป้าหมาย
1. นักเรียนป.4 จำนวน 23 คน

รายละเอียดโครงการ

โครงการ                                                                                  Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย 
แผนงาน                                                                                  จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
งาน                                                                                         บริหารงานวิชาการ 
ฝ่ายงาน                                                                                   เทคโนโลยีสารสนเทศ   
สนองนโยบาย สพฐ.                                                                  นโยบาย ข้อที่ 1 – 6 
สนองกลยุทธ์ สพฐ.                                                                   กลยุทธ์ข้อที่ 1, 2   
สนองกลยุทธ์ของ  สพป.ชร.2                                                     กลยุทธ์ ข้อที่ 1 
สนองกลยุทธ์ของโรงเรียน                                                         กลยุทธ์ ข้อที่ 1, 2, 4 
สนองมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน                                 มาตรฐานการศึกษาที่  1, 3 
สนองมาตรฐานตัวบ่งชี้ของ สมศ.                                               ตัวบ่งชี้ที่ 1, 2, 3, 4 
สัมพันธ์กับระบบ                                                                       สารสนเทศ  (ระบบของโรงเรียน) 
หน่วยงานที่รับผิดชอบ                                                               โรงเรียนบ้านห้วยไคร้ 
ผู้รับผิดชอบ                                                                              นายเสฏฐวงศ์  อินทะเรืองรุ่ง 
ระยะเวลาดำเนินการ                                                                 ตลอดปีการศึกษา 2565 
ลักษณะโครงการ                                                                      โครงการต่อเนื่อง 
………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
1. หลักการและเหตุผล  
                ปัจจุบันการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้สื่อ นวัตกรรม รวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีความสอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้ด้านต่างๆ ตามความสนใจผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 
                ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พุทธศักราช 2542  หมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา  มาตรา 64 มาตรา 65 และมาตรา 66 ว่าด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา  รวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 
                ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 -2579 ได้กำหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วยทักษะและ คุณลักษณะต่อไปนี้ 
                - 3Rs ได้แก่ การอ่านออก การเขียนได้ และการคิดเลขเป็น 
                - 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหาทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม โดยโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ได้จัดทำโครงการพัฒนาสื่อ ICT เพื่อเด็กน้อยบนดอยสูง ซึ่งเป็นการตอบสนองทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และตอบสนองยุทธศาสตร์ที่ 4 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายว่าการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6  มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพียงพอ เหมาะสมกับผู้เรียน  มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 
                อีกทั้งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศให้จัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ไว้ในกลุ่มสาระการรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้เริ่มจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 4 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป 
                โรงเรียนบ้านห้วยไคร้มีการนำแนวการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มาบริหารจัดการศึกษาภายใต้นโยบาย ห้วยไคร้ 4.0 เพื่อพัฒนาครู นักเรียน และแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน โดยมีการวิเคราะห์สภาพปัญหาของโรงเรียน ทำให้ทราบถึงจุดที่ควรพัฒนา คือ การพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนทีทักษะในการใช้อุปกรณ์ ICT ในการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการบริหารงานด้านต่างๆ ในการสร้างสรรค์โครงงานนักเรียน เนื่องจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนมีสภาพเก่า ชำรุด และมีจำนวนไม่เพียงพอต่อผู้เรียน ซึ่งการพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์ให้มีสภาพพร้อมใช้งาน จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านการใช้เทคโนโลยี ประกอบกับทางโรงเรียนได้มีการดำเนินการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เป็น Active Learning ภายใต้นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์ ด้วย KING BHUMIBOL Model ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็น Active Learning การเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 
                ดังนั้นโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ โดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และภาคีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน  จึงจัดทำโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย โดยมุ่งเน้นผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ในด้านการเรียนรู้ของรายวิชาวิทยาการคำนวณ กุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science: CS)   เทคโนโลยสารสนเทศและการสื่อสาร (Information Communication Technology: ICT)  การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy: DL) และเน้นให้ครูผู้สอนใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ คณิตศาสตร์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา นำผู้เรียนมาใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ในการจัดการเรียนรู้แบบ แบบ Active Learning เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้งด้านทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพสูงขึ้นไปพร้อมกัน 

2. วัตถุประสงค์  
                2.1 เพื่อให้นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ได้รับการพัฒนาด้านวิทยาการคำนวณ ทั้ง 3 ด้าน อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาทุกรายวิชาโดยการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คในการเรียนรู้ 
                2.2 เพื่อให้นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 มีความรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และพัฒนานวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ 
                2.3 เพื่อให้ครูผู้สอนได้ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทุกรายวิชา แก่นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6  

3. ผลลัพธ์ (Outcomes) 
                3.1 ผู้เรียนมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มสูงขึ้น 
                3.2 ผู้เรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 
                3.3 ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในด้านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนรู้และการพัฒนานวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ 
                3.4 ครูมีนวัตกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยกระบวนการ Active Learning 

4. ผลผลิต (Outputs)  
                4.1 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการใช้งานการติดต่อสื่อสารและการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  
                4.2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้บริการเกี่ยวกับงานสารสนเทศของโรงเรียน 
                4.3 สนับสนุนให้ความรู้แก่ผู้เรียนในการใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรม 
                4.4 มีนวัตกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยกระบวนการ Active Learning 

5. เป้าหมายในการทำโครงการ 
                นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 96 คน ได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ผ่านโครงการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย 

6. รายละเอียดในการทำโครงการ 
                โครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 โดยมุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ และการจัดการเรียนรู้ของรายวิชาอื่นทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ Active Learning โดยนำอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คไปบูรณาการใช้ในจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้งด้านทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพสูงขึ้น อีกทั้งผู้เรียนยังรู้จักประยุกต์ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คเพื่อพัฒนานวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ โดยมีรูปแบบและแนวทางการจัดการเรียนรู้ดังนี้ 
                1. การจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุกระดับชั้น โดยแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 จัดการเรียนรู้ 2 ครั้ง/สัปดาห์ และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จัดการเรียนรู้ 1 ครั้ง/สัปดาห์  
                2. ครูผู้สอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แก่ผู้เรียนตามตารางการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดยจัดให้ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง สำหรับวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษาและสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สำหรับวิชา พลศึกษาและสุขศึกษา ภาษาจีน การงานพื้นฐานอาชีพ และดนตรีศิลปะ 
และโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ยังนำไปจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 

7. แผนการดำเนินงานของโครงการ  
                1. ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร่วมกันประชุวางแผนเพื่อจัดทำโครงการ Laptop on Hill โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย และแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานตามโครงการ 
                2. คณะกรรมการดำเนินการร่วมประชุมวางแผนเพื่อดำเนินการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยโดยดำเนินการกำหนดความสำคัญ กำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย กระบวนการดำเนินการ และผลที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ 
                3. ดำเนินการตามโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย ที่กำหนดไว้ดังนี้ 
                                 - ปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ให้เหมาะสม 
                                 - จัดซื้ออุปกรณ์และติดตั้ง Software  
                                 - วางแผนกำหนดตารางการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทุกรายวิชา โดยเน้นกลุ่มเป้าหมาย (นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เป็นสำคัญ) ดังนี้ 
                                                  1. การจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุกระดับชั้น โดยแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 จัดการเรียนรู้ 2 ครั้ง/สัปดาห์ และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จัดการเรียนรู้ 1 ครั้ง/สัปดาห์  
                                                  2. ครูผู้สอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามตารางการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดยจัดให้เป็น สัปดาห์ละ 2 ครั้ง สำหรับวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา และสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สำหรับวิชา พลศึกษาและสุขศึกษา ภาษาจีน การงานพื้นฐานอาชีพ และดนตรีศิลปะ 
                                 - ตรวจสอบ นิเทศ กำกับติดตามการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนตามตารางนิเทศการจัดการเรียนรู้ 
                                 - ครูผู้ดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ หลังเลิกเรียน เวลา 16.00 และเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้ในวันต่อไป 
                                 - ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค 
                4. นิเทศ  กำกับ  ติดตามโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย  
                5. ประเมินผลการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย 
                6. สรุปและรายงานผลโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย และจัดหาอุปกรณ์เพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาอุปกรณ์ที่ชำรุดเสียหาย 

8. กิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน  
              8.1   กิจกรรม Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย
                                1. ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร่วมกันประชุวางแผนเพื่อจัดทำโครงการ Laptop on Hill โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรม Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยและแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานตามโครงการ            
                                2. คณะกรรมการดำเนินการร่วมประชุมวางแผนเพื่อดำเนินการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊ค กิจกรรม Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอยเพื่อเด็กน้อยบนดอยโดยดำเนินการกำหนดความสำคัญ กำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย กระบวนการดำเนินการ และผลที่คาดว่าจะได้รับ          
                                3. ดำเนินการตามโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย ที่กำหนดไว้ดังนี้ 
                                                - ปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ให้เหมาะสม 
                                                - จัดหาอุปกรณ์และซอฟแวร์ต่างๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ และดำเนินการติดตั้งพร้อมใช้งาน 
                                                - วางแผนกำหนดตารางการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทุกรายวิชา โดยเน้นกลุ่มเป้าหมาย (นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เป็นสำคัญ) ดังนี้ 
                                                1. การจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุกระดับชั้น โดยแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 จัดการเรียนรู้ 2 ครั้ง/สัปดาห์ และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จัดการเรียนรู้ 1 ครั้ง/สัปดาห์  
                                                2. ครูผู้สอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามตารางการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดยจัดให้เป็น สัปดาห์ละ 2 ครั้ง สำหรับวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา และสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สำหรับวิชา พลศึกษาและสุขศึกษา ภาษาจีน การงานพื้นฐานอาชีพ และดนตรีศิลปะ 
                                                - ตรวจสอบ นิเทศ กำกับติดตามการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนตามตารางนิเทศการจัดการเรียนรู้ 
                                                - ครูผู้ดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ หลังเลิกเรียน เวลา 16.00 และเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้ในวันต่อไป 
                                                - ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค             
                                4. นิเทศ  กำกับ  ติดตามโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย           
                                5. ประเมินผลการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย          
                                6. สรุปและรายงานผลโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย           
            8.2 กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ
                                1. ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร่วมกันประชุวางแผนเพื่อจัดทำโครงการ Laptop on Hill โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ และแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานตามโครงการ            
                                2. คณะกรรมการดำเนินการร่วมประชุมวางแผนเพื่อดำเนินการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการกำหนดความสำคัญ กำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย กระบวนการดำเนินการ และผลที่คาดว่าจะได้รับ             
                                3. ดำเนินการตามกิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ ที่กำหนดไว้ดังนี้ 
                                                - สำรวจอุปกรณ์ที่ชำรุดเสียหาย หรือจุดที่ได้รับความเสียหาย 
                                                - วางแผนดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ชำรุดและการซ่อมบำรุงจุดที่เสียหาย 
                                                - ตรวจสอบ นิเทศ กำกับติดตาม การดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และการแก้ไขจุดที่ชำรุด 
                                                - ครูผู้ดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมใช้งาน 
                                                - ประเมินผลการซ่อมบำรุงอุปกรณ์และจุดที่ชำรุดเสียหาย             
                                4. นิเทศ  กำกับ  ติดตามโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ              
                                5. ประเมินผลการโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ            
                                 6. สรุปและรายงานผลโครงการ Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ

 

9. งบประมาณรายรับ  ทั้งหมด จำนวน 540,000 บาท  
                 จากงบโครงการระดมทุนเพื่อการศึกษา (CONNEXT ED CROWDFUNDING)                      เป็นเงิน 500,000 บาท 
                 จากงบรายหัวปกติ (โรงเรียนเป็นดำเนินการ) อ                                                                เป็นเงิน  40,000 บาท  


10. รายละเอียดการใช้งบประมาณ 
1. กิจกรรม Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย                 500,000 บาท
2. กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ                      40,000 บาท 
                                                                                        รวม  540,000  บาท
11. หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง 
- โรงเรียนบ้านห้วยไคร้  

12. การประเมินผล 
                ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
                กิจกรรม Laptop on Hill  โน๊ตบุ๊คเพื่อเด็กน้อยบนดอย 
                                - สถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 
                                - ร้อยละ 100 ของผู้เรียนทุกระดับชั้นมีคอมพิวเตอร์เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนและสามารถดูแลอุปกรณ์ ICT ได้ 
                                - ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดับชั้น ป.4-6 ได้รับการพัฒนาในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา 

                                - สถานศึกษามีการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 
                กิจกรรมการซ่อมบำรุง Laptop และห้องปฏิบัติการ 

                                - ร้อยละ 100 มีครูผู้ปฏิบัติหน้าที่ดูแลและสำรวจวัสดุอุปกรณ์ที่ชำรุดและความเสียหายที่เกิดขึ้น 
                                - ร้อยละ 100 โรงเรียนมีการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อทดแทนที่ชำรุดและซ่อมบำรุงให้พร้อมใช้งาน 

13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
                ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ได้รับการพัฒนาด้านวิทยาการคำนวณ ทั้ง 3 ด้าน อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาทุกรายวิชาโดยการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คในการเรียนรู้ สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศตามความสนใจ ใช้อินเตอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม และใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการสร้างสรรค์โครงงานนักเรียน ทำให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้ผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และครูผู้สอนได้ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทุกรายวิชา แก่นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6  

14. แนวคิดในการจัดเก็บ และบำรุงรักษาอุปกรณ์ 
                โรงเรียนบ้านห้วยไคร้มีแผนการดำเนินการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ดังนี้ 
                1. ดำเนินการปรับปรุงระบบไฟฟ้า ระบบอินเตอร์เน็ต และระบบความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ โดยการติดตั้งกล้องวงจรปิดด้านหน้าและหลังห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 
                2. ดำเนินการจัดหาตู้ชาร์ตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค  
                3. โรงเรียนจัดตั้งโครงการ/กิจกรรม เพื่อใช้ในการบำรุงรักษาอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ลงในแผนปฏิบัติการประจำปี 
                4. แต่งตั้งให้ครูผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถเป็นผู้ดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค และให้ดำเนินการตรวจสอบความเรียบร้อย ความพร้อม ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค เพื่อเตรียมให้บริการแก่ครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในวันต่อไป 
                5. จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการจัดหาอุปกรณ์เพื่อซ่อมแซมอุปกรณ์ที่เสียหาย 

  


 


แผนการดำเนินงาน
ร่วมกันประชุวางแผนเพื่อจัดทำและแต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงานตามโครงการ สิงหาคม 2564
ติดตามการรับการบริจาคและการจัดทำ e-Donation กันยายน 2564
ประชาสัมพันธ์โครงการ กันยายน 2564
สรุปยอดเงินหลังรับบริจาค ตุลาคม 2565
ปรับข้อมูลโครงการตามยอดรับบริจาคจริง ตุลาคม 2565
จัดซื้อ Notebook และอุปกรณ์ ตุลาคม 2565
บันทึกครุภัณฑ์โรงเรียน ตุลาคม 2565
ติดตั้ง Software ในคอมพิวเตอร์ ตุลาคม 2565
พัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ กันยายน 2565
เข้าร่วมอบรมการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตุลาคม 2565
ประชุมและร่วมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน ตุลาคม 2565
ดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน พฤศจิกายน 2565
ประเมินผลการดำเนินงาน เมษายน 2566

การประเมินผล
1. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ได้รับการพัฒนาด้านวิทยาการคำนวณ ทั้ง 3 ด้าน อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาทุกรายวิชาโดยการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คในการเรียนรู้
2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 มีความรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และพัฒนานวัตกรรมแห่งการเรียนรู้
3. ครูผู้สอนได้ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทุกรายวิชา แก่นักเรียนเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6

งบประมาณ
ลำดับ รายการ จำนวน ราคาต่อหน่วย จำนวนเงิน
1 คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค Acer TravelMate TMP214-52-564M/T00V หน้าจอแสดงผลขนาด 14.0" ระดับ HD เทคโนโลยีหน้าจอแสดงผล Acer ComfyView ช่วยลดแสงสะท้อนจากจอภาพ ระบบประมวลผล Intel Core i5-10210U Processor มาพร้อม SSD ความจุ 256GB และ RAM DDR4 8GB มาพร้อมระบบปฏิบัติการ Linux OS 23 เครื่อง 19,500.00 448,500.00
2 ตู้ชาร์ตแบตโน๊ตบุ๊ค Angel Notebook Charger รุ่น N-24 ตู้สามารถชาร์จไฟ Notebook ได้ 24 เครื่อง ตู้ผลิตจากโลหะหนา 1.6 mm. เคลือบด้วยสีแบบ Power Coating ทนทานต่อแรงกระแทก ตัวเครื่องใช้ระบบแยกชิ้นประกอบ ทำให้ง่ายในการขนส่งจำนวนมาก มีมือจับแสตนเลสอย่างดีหนา 3 mm. สำหรับใช้เคลื่อนย้ายเครื่องได้อย่างสะดวก มีล้อหมุนได้360 องศา สามารถล๊อคล้อได้และรับน้ำหนักได้เกินกว่าน้ำหนักตู้ถึง 2 เท่า มีฝา เปิด-ปิด ด้านหน้า ด้านหลัง พร้อมมีกุญแจล๊อคตู้เพื่อความปลอดภัย ผนังตู้มีช่องระบายอากาศเพื่อช่วยถ่ายเทความร้อนได้ดี มีระบบป้องกันการเลื่อนไหลของ Notebook และมีวัสดุดูดซับแรงกระแทกบุภายในตู้ มีที่เก็บสายไฟเพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้ายตู้หรือเมื่อไม่ได้ใช้งาน ชิ้นส่วนไฟฟ้าต่างๆได้แก่ชุดปลั๊กไฟ แผงวงจรควบคุม ใช้ระบบเทอร์มินอลแบบเสียบ ทำให้ง่ายในการ ซ่อมบำรุง สามารถดำเนินการได้โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่องช่าง ซึ่งผู้ดูแลสามารถแก้ปัญหาเบื้องต้นได้ ด้วยตนเอง ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องมีความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับแก้ไขได้ตามต้องการ ตัวเครื่องออกแบบโดยเน้นความปลอดภัยของเด็กๆเป็นหลัก ป้องกันในจุดที่จะเป็นอันตราย โรงงานผู้ผลิตได้มาตรฐาน ISO 9001 1 ตู้ 48,500.00 48,500.00
3 Access Point D-LINK (DAP-1665) Wireless AC1200 Dual Band Gigabit ใช้งานได้แบบ 2 คลื่น 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ และ 5 กิกะเฮิร์ตช์ 1 เครื่อง 1,850.00 1,850.00
4 เม้าส์ ประเภท USB Optical Mouse ความยาวสายสาย USB ยาวประมาน 1.5 เมตร 10 อัน 115.00 1,150.00
รวม 500,000.00

ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผอ., รอง ผอ. และคณะครู
ครูรัชพร
ครูเสฏฐวงศ์
ครูรัชพร
ครูเสฏฐวงศ์
ครูเสฏฐวงศ์,ครูรัชณีกร
ครูเสฏฐวงศ์,ครูรัชณีกร
ครูเสฏฐวงศ์
ผอ, รอง ผอ. ,ครูเสฏฐวงศ์
ครูพิชญ์สกุล, ครูอาจารี, ครูพิมพิไร, ครูเสกสรร, ครูฉันทิกา
ครูพิชญ์สกุล, ครูอาจารี, ครูพิมพิไร, ครูเสกสรร, ครูฉันทิกา
ครูพิชญ์สกุล, ครูอาจารี, ครูพิมพิไร, ครูเสกสรร, ครูฉันทิกา
ผอ., รอง ผอ., ครูเสฏฐวงศ์, ครูพิชญ์สกุล, ครูอาจารี, ครูพิมพิไร, ครูเสกสรร, ครูฉันทิกา
แผนการดำเนินงาน
0/13
0%
Start |
S |
13.08.64
End |
E |
13.08.64
Over Due
Start |
S |
16.09.64
End |
E |
30.09.65
Over Due
Start |
S |
16.09.64
End |
E |
30.09.65
Over Due
Start |
S |
03.10.65
End |
E |
05.10.65
Over Due
Start |
S |
06.10.65
End |
E |
07.10.65
Over Due
Start |
S |
10.10.65
End |
E |
21.10.65
Over Due
Start |
S |
24.10.65
End |
E |
26.10.65
Over Due
Start |
S |
27.10.65
End |
E |
31.10.65
Over Due
Start |
S |
05.09.65
End |
E |
09.09.65
Over Due
Start |
S |
17.10.65
End |
E |
21.10.65
Over Due
Start |
S |
24.10.65
End |
E |
28.10.65
Over Due
Start |
S |
01.11.65
End |
E |
07.04.66
Over Due
Start |
S |
10.04.66
End |
E |
11.04.66
Over Due
การดำเนินงาน
วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ ใบเสร็จรับเงิน
22/04/67 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
31/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 1,008.00 0.00 1,008.00 -
30/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 5,100.00 0.00 5,100.00 -
28/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 5,000.00 0.00 5,000.00 -
27/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
27/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 10,000.00 0.00 10,000.00 -
15/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 170,000.00 0.00 170,000.00 -
15/12/66 เงินสนับสนุนโครงการ 50,000.00 0.00 50,000.00 -
08/03/66 เงินสนับสนุนโครงการ 80,000.00 0.00 80,000.00 -
23/03/65 เงินสนับสนุนโครงการ 1,000.00 0.00 1,000.00 -
03/02/65 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
13/01/65 เงินสนับสนุนโครงการ 500.00 0.00 500.00 -
31/12/64 เงินสนับสนุนโครงการ 2,467.90 0.00 2,467.90 -
28/12/64 เงินสนับสนุนโครงการ 8,000.00 0.00 8,000.00 -
09/11/64 เงินสนับสนุนโครงการ 200.00 0.00 200.00 -
09/11/64 เงินสนับสนุนโครงการ 50.00 0.00 50.00 -
คำขอบคุณ
บ้านห้วยไคร้
225 หมู่ 13 ถ.บ้านตีนดอย-บ้านวาวี ต.วาวี อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 57180
โทร. 090-316-7456
ผู้อำนวยการโรงเรียน
นายสุทัด จันทะสินธุ์
  • participation
    ระดับชั้นที่เปิดสอน
    อนุบาล- ม. 3
  • grey-school
    จำนวนห้องเรียน
    19
  • student-count
    จำนวนนักเรียน
    388
  • teacher-count
    จำนวนครู
    14
  • ภาพบริเวณโรงเรียน
    School Grading ปีการศึกษา -1
    1.34
    grading-line
    ด้านผู้เรียน
    0.71
    ด้านผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา
    1.75
    ด้านหลักสูตรและการสอน
    1.25
    ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
    4.00
    ด้านการมีส่วนร่วม
    3.46
    O-NET
    ปีการศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
    ผู้บริจาคสูงสุด
    อันดับ ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาครวม
    ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 170,000.00
    ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 80,000.00
    คุณสมใจ - คุณทรง มหพันธ์ 50,000.00
    4 พงศ์เจริญ เตรียมล้ำเลิศ 18,000.00
    5 CHERDCHAI ROASTER 5,100.00
    6 Maneenuch 5,000.00
    7 tipapornc 2,467.90
    8 TREEMEEN CHAROENPHITHAK 1,008.00
    9 นันทนัช 1,000.00
    10 สุพรรษา ศรีสัมฤทธิ์ 500.00
    ผู้บริจาคล่าสุด
    วันที่บริจาค ผู้บริจาค ยอดเงินบริจาค
    22.04.2567 สุพรรษา ศรีสัมฤทธิ์ 500.00
    31.12.2566 TREEMEEN CHAROENPHITHAK 1,008.00
    30.12.2566 CHERDCHAI ROASTER 5,100.00
    28.12.2566 Maneenuch 5,000.00
    27.12.2566 Tonnam Taengthai 500.00
    27.12.2566 พงศ์เจริญ เตรียมล้ำเลิศ 10,000.00
    15.12.2566 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 170,000.00
    15.12.2566 คุณสมใจ - คุณทรง มหพันธ์ 50,000.00
    08.03.2566 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม 80,000.00
    23.03.2565 นันทนัช 1,000.00